ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน

1. รหัสสถานศึกษา
     รหัสกระทรวง(10 หลัก) 1032650826
     รหัสโรงเรียน 32032016
     รหัสเขต(8 หลัก)* 00320001 – สพม.สุรินทร์
     เลขผู้เสียภาษี 0-9940-00113-14-5

2. ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนมัธยมทับทิมสยาม ๐๔ ในพระอุปถัมภ์
     ชื่อ (อังกฤษ)* Tubtim Siam 04 Secondary School under Royal Patronage.
     ทับศัพท์ : Mattayomtubtimsiam 04 School

3. สังกัด
     สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์
     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
     เขตตรวจราชการ เขตตรวจราชการเขต 13         ที่มา : ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

4. ที่ตั้งสถานศึกษา / ที่ตั้งโรงเรียนมัธยมทับทิมสยาม ๐๔ ในพระอุปถัมภ์
     ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ตําบลเทพรักษา อําเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ รหัสไปรษณีย์ 32150
     Village No.6 , Tepraksa Sub-district , Sangkha District , Surin , Thailand , 32150
     โทรศัพท์ 061-9299084
     website tubtimsiam04.ac.th
     E-mail: tubtimsiam04school@gmail.com
     FB : www.facebook.com/tubtimsiam04
     Youtube : www.youtube.com/@tubtimsiam04

5. ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา จำนวน 21 คน
     ผู้อำนวยการสถานศึกษา นางสาวยุพเรศ พระวัย
     รองผู้อำนวยการสถานศึกษา นางปณิดา แก้วหอม

บุคลากรผู้บริหารครูผู้สอน ค.ศ.3ครูผู้สอน ค.ศ.2ครูผู้สอน ค.ศ.1ครูผู้สอน ครูผู้ช่วยพนักงานราชการครูอัตราจ้างเจ้าหน้าที่อื่นๆรวม
ปีการศึกษา 256721564321
ปีการศึกษา 2568214164321
ไปยังข้อมูลบุคลากร

ประเภทบุคลากรเพศระดับการศึกษาสูงสุดอายุเฉลี่ยประสบการณ์ทำงานเฉลี่ย
ชายหญิงต่ำกว่า ป. ตรีป. ตรีสูงกว่า ป. ตรี
ผู้อำนวยการ114015
รองผู้อำนวยการ114727
ครูประจำการ7584356
พนักงานราชการ444513
ครูอัตราจ้าง
ธุรการ11315
นักการ/ภารโรง1127
อื่นๆ114720
รวม81321364015

chart จาก https://hrms.obec.go.th/school

6. ข้อมูลนักเรียน

ข้อมูล DMC ระยะที่ 2 วันที่ 10 พ.ย.67 ( ที่มา-ข้อมูล )
ชั้นชายหญิงรวม
มัธยมศึกษาปีที่ 1203050
มัธยมศึกษาปีที่ 2152540
มัธยมศึกษาปีที่ 3163248
รวม ม.ต้น5187138
มัธยมศึกษาปีที่ 4141832
มัธยมศึกษาปีที่ 571522
มัธยมศึกษาปีที่ 6516
รวม ม.ปลาย263460
รวมทั้งสิ้น77121198

7.เขตบริการของโรงเรียน
     เขตบริการของตำบลเทพรักษา อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 13 หมู่บ้าน , ตำบลตาตุม อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 1 หมู่บ้าน และ ตำบลอาโพน อำเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 1 หมู่บ้าน รวมทั้งหมด 15 หมู่บ้าน

ลำดับชื่อหมู่บ้านหมู่ตำบลอำเภอจังหวัดผู้ใหญ่บ้าน
1บ้านเทพรักษา1เทพรักษาสังขะสุรินทร์นายวิลาศ แก้วหอม
2บ้านกะเลงเวก2เทพรักษาสังขะสุรินทร์นายชาย พรมอุก
3บ้านอามุย3เทพรักษาสังขะสุรินทร์นายลอย ซ่อนจันทร์
4บ้านตาไทย4เทพรักษาสังขะสุรินทร์นางวาสนา เที่ยงตรง
5บ้านชำเบง5เทพรักษาสังขะสุรินทร์นายวีรเดช เผ่าทอง
6บ้านลันแต้6เทพรักษาสังขะสุรินทร์นายแสงชัย สํารวย
7บ้านศาลา7เทพรักษาสังขะสุรินทร์นางสวัสดิ์ สารสุข
8บ้านตาพราม8เทพรักษาสังขะสุรินทร์นายวาน โสภา
9บ้านตาแตรว9เทพรักษาสังขะสุรินทร์นายสมบัติ พลศรี
10บ้านทับทิมสยาม0410เทพรักษาสังขะสุรินทร์นายวุฒิชัย ดวงดี
11บ้านไพรพยัคฆ์11เทพรักษาสังขะสุรินทร์นายทีน พิกุลทอง
12บ้านสะเดาพัฒนา12เทพรักษาสังขะสุรินทร์นายสุกรี บุญพร้อม
13บ้านลันแต้อุดมสุข13เทพรักษาสังขะสุรินทร์นายบันหยัด เกตศรี
14บ้านคะนา7ตาตุมสังขะสุรินทร์นายสมชาย แก้วสว่าง
15บ้านหนองหลวง4อาโพนบัวเชดสุรินทร์นายธรรมรัตน์ เจตนกสิกรณ์

     ระยะทางจากโรงเรียน ถึง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ 70.2 กิโลเมตร
     โรงเรียนระดับประถมศึกษาที่ใกล้ที่สุด โรงเรียนบ้านลันแต้ สพป. เขต 3 ระยะทาง 1.7 กิโลเมตร
     โรงเรียนระดับมัธมศึกษาที่ใกล้ที่สุด โรงเรียนขนาดมอญพิทยาคม สพม.สุรินทร์ ระยะทาง 11.9 กิโลเมตร
     ระยะทางจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำบลเทพรักษา 7.8 กิโลเมตร
     ที่ดินของโรงเรียน จำนวน 75 ไร่

8. ห้องปฏิบัติการ
     ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 ห้อง จำนวนเครื่องนักเรียน 15 เครื่อง
     ห้องวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 ห้อง จำนวนที่นั่ง 40 ที่นั่ง
     ใช้อินเทอร์เน็ตเช่าสัญญาณ
              – 3BB จำนวน 2 สัญญาณ 1 สัญญาณ ความเร็ว 500 Mb/s
              – NT   จำนวน 2 สัญญาณ ความเร็ว 1000 Mb/s
     กล้องวรจรปิด CCTV จำนวน 8 ช่องสัญญาณ


9. ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ สำหรับโรงเรียนชนบท โดยสำนักงานบริหารกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน    
     เมื่อปี พ.ศ. 2562 ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ขนาด 10KW งบประมาณโครงการ 4,800,180.00 บาท ผู้บริหารโครงการ นายภานุวัฒน์ แป้นจันทร์ ผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมทับทิมสยาม ๐๔ ในพระอุปถัมภ์ (เอกสารโครงการ)


10.ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม
     10.1 สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ ฐานะทางเศรษฐกิจของชุมชนในพื้นที่บริการ ชาวตำบลเทพรักษาส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำนา ทำไร่ เป็นอาชีพหลัก ทำให้ฐานะทางเศรษฐกิจค่อนข้างยากจน และเนื่องจากสมัยก่อนพื้นที่แห่งนี้เป็นบริเวณที่ทำสงครามจากประเทศกัมพูชา ทำให้ ประชาชนอยู่ด้วยความระมัดระวัง ไม่วางใจคนแปลกหน้า แม้กระทั่งหน่วยงานราชการที่มาให้ความช่วยเหลือ ประชากรมีรายได้อยู่ในเกณฑ์ต่ำ ไม่สามารถส่งบุตรหลานศึกษาต่อใน ระดับที่สูงได้

     10.2ภาษาสื่อสารของชุมชนในพื้นที่บริการ ภาษาที่ใช้สื่อสารส่วนใหญ่ใช้ภาษาถิ่นในการสื่อสารร้อยละ ๙๐ เป็นภาษาเขมร ร้อยละ ๘ เป็นภาษาส่วย ร้อยละ ๒ เป็นภาษาลาว ทำให้เกิดปัญหาในการสื่อสารพอสมควร

     10.3ลักษณะภูมิศาสตร์ การคมนาคมของชุมชนในพื้นที่บริการ เป็นชนบทห่างจากชุมชนเมือง สภาพทางภูมิศาสตร์เป็นพื้นที่ลาดเอียง บางแห่งเป็นที่เนินเขาสูง เหมาะแก่การประกอบอาชีพทำไร่ การคมนาคมจากจังหวัดสุรินทร์ เดินทางตามเส้นทางสายสุรินทร์-สังขะ และเดินทางตามเส้นทางสายดม – ตาตุม โดยมีระยะทางจากจังหวัดสุรินทร์ประมาณ 70 กิโลเมตร (เส้นทาง) เป็นถนนลาดยางตลอดสาย ผ่านหน้าโรงเรียน การคมนาคม ส่วนใหญ่ สะดวก สบาย ใช้ยานพาหนะติดต่อกันทั้งรถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถจักรยานและรถประจำทางหรือประจำหมู่บ้าน

     10.4สังคม ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา โดยรวมของชุมชนในพื้นที่บริการ สังคมชุมชนรอบโรงเรียนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย เชื่อฟังและเคารพผู้นำของหมู่บ้าน แต่มีความแตกต่างกันมากในด้านชีวิตความเป็นอยู่ของชาติกำเนิด สภาพสังคมระหว่างหมู่บ้านมักมีความสัมพันธ์กันน้อย เนื่องจากสภาพกำเนิดภาษาท้องถิ่นที่ใช้มีความแตกต่างกัน สภาพปัญหาหลังสงครามในเขตพื้นที่ชายแดนไทย-กัมพูชา ปัญหาเรื่องความไม่ไว้วางใจเริ่มเกิดขึ้นทำให้เกิดปัญหาความแตกต่างตามมาหลายปัญหาด้วยกัน ในด้านประเพณี วัฒนธรรมในแต่ละหมู่บ้าน จะมีความแตกต่างกันตามวัฒนธรรมชาติกำเนิดและภาษาที่ใช้ ประเพณี วัฒนธรรมจะสืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ เช่น สารทเขมร (โฎนตา) และส่วนใหญ่จะนับถือเรื่องไสยศาสตร์
     ประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนในเขตพื้นที่บริการ เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมาเป็นเวลายาวนาน ก็ยังคงถือปฏิบัติกันอยู่อย่างมั่นคง เช่น ประเพณีโดนตาหรือแซนโฎนตา ( เซ่นไหว้บรรพบุรุษ ) ซึ่งจะทำกันในวันสารท รวมทั้งประเพณีและวัฒนธรรม ความเชื่ออื่นๆ ของถิ่น ในขณะเดียวกันก็ยังคงยึดถือปฏิบัติตามประเพณีวัฒนธรรมหลักของไทย เช่น ประเพณีอันเกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญของชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ โดยรวมของชุมชนในพื้นที่บริการสังคม ประเพณี เป็นแบบผสมผสาน ของแต่ละชนเผ่า แต่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข